การวางแผนทรัพยากรมนุษย์สามารถกระทำได้ด้วยการวางแผนจากบนลงล่าง (Top-down Approach) และการวางแผนจากล่างขึ้นบน (Bottom-up Approach) ผสมผสานกัน กล่าวคือ การวางแผนจากบนลงล่างจะเริ่มต้นที่แผนหลักขององค์การ ก่อนกำหนดแผนทรัพยากรมนุษย์ พิจารณาสภาวการณ์ต่างๆ ในขณะนั้น การวางแผนจากบนลงล่างเป็นการเริ่มต้นวางแผนจากข้างบนลงมาข้างล่างหรือที่เรียกว่า นโยบายเป็นใหญ่ที่จะให้ได้ผลหรือไม่ย่อมขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์หลักขององค์การ เพราะวัตถุประสงค์เป็นเสมือนตัวเชื่อมกิจกรรมต่างๆ ของทุกหน่วยงานในองค์การ การวางแผนทรัพยากรมนุษย์จะต้องพิจารณาจากแผนหลักหรือแผนกำไร และแผนการผลิตขององค์การ กระบวนการวางแผนทรัพยากรมนุษย์ มีรายละเอียด

อ่านต่อ ...

ยุคนี้อาจจะพูดได้ว่าเป็นยุคทอง ของงานสรรหาพนักงาน จากที่ผู้เขียนเป็นที่ปรึกษาหลายองค์กร มักจะบ่นเรื่อง การหาคนให้ฟังว่า หาพนักงานที่ทำงานใน โรงงานยากมาก พอหาได้มาก็มาทำงานได้ไม่ทน ไม่ค่อยสู้งาน ไม่อดทน เกี่ยงงาน เลือกที่จะทำงานไม่หนัก ไม่ทำงานล่วงเวลาถึงเวลาเลิกงานกลับบ้านตรงเวลา   ไม่สนใจงานจะเสร็จหรือไม่เสร็จ ปล่อยให้หัวหน้าแก้ปัญหาเอาเอง นั่นคือพฤติกรรมของคนรุ่นใหม่ ที่นักบริหารงานบุคคล ประสบอยู่ในขณะนี้   บางองค์กรหาคนที่จะมาสมัครงานในบริษัทยังไม่ได้เลย คงไม่ต้องพูดถึงเรื่อง

อ่านต่อ ...

บางครั้งคณะกรรมการสัมภาษณ์จะมุ่งเน้นที่จะสัมภาษณ์ผู้สมัครอย่างเดียวคงไม่ทันกาล เพราะว่าในโลกปัจจุบันขณะนี้ผู้สมัครก็มีทักษะ ความรู้ ความสามารถเพิ่มสูงขึ้น ประกอบกับการแสดงออกของผู้สมัครในยุค Gen Y ก็มีความเข้มข้น มีความกล้าแสดงออก มีความเชื่อมั่นในตัวเองสูงมาก จนกระทั่งผู้ที่เป็นคณะกรรมการสัมภาษณ์ที่มีประสบการณ์น้อย ไม่สามารถทราบได้เลย ผู้สมัครมีความสามารถ และทักษะสูง ตามคำกล่าวอ้างหรือไม่ หรือในบางแง่มุมหนึ่งของชีวิต ผู้สมัครเอง อาจจะไม่ได้ระวังตัวเอง เมื่อยังไม่ถึงเวลาเข้าเวทีการสัมภาษณ์งานจริง ซึ่งองค์กรต้องหาวีธีการที่จะสังเกตพฤติกรรมผู้สมัครให้ได้อย่างแยบยล

อ่านต่อ ...

ในยุคปัจจุบัน ความต้องการแรงงานที่เป็นชาวต่างประเทศ ย่อมเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ เพราะว่าแรงงานไทยไม่ค่อนสนใจอาชีพหรือตำแหน่งงานที่มีมูลค่าทางสังคมต่ำ เช่น เด็กเสริฟ  พนักงานต้อนรับลูกค้า  และพนักงานทั่วไป ในโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งอาจจะเป็นค่านิยมของเด็กไทยสมัยใหม่ที่ เริ่มมาใส่ใจด้านการศึกษาเพิ่มมากขึ้น เมื่อจบระดับมัธยมปลาย ก็กู้เงินเพื่อทำการศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี และปริญญาโท  หลังจากจบการศึกษาก็ไม่อยากเป็นลูกจ้างใคร จดทะเบียนประกอบกิจการเป็นธุรกิจของตัวเอง  จนทำให้แรงงานระดับล่างเริ่มขาดแคลน  หรือพอมีบ้างในบางจังหวัดแต่ก็เลือกงานที่จะทำ มีการหมุนเวียนเปลี่ยนงานบ่อยครั้ง จนนายจ้าง

อ่านต่อ ...

การคัดเลือก บุคลากร เข้ามาทำงานในองค์กรนับได้ว่าเป็นภารกิจที่ยากที่สุด ของผู้บริหารและฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งตรงกับคำพูดของ นายแอนดรูว์ โกรฟ ประธานกรรมการ บริษัท อินเทรน จำกัด ยักษ์ใหญ่แห่งซิลิกอน แวลลี่ย์ เป็นบริษัทที่ติดอันดับหนึ่ง ในนิตยสารฟอร์จูน 500 เขียนไว้ในหนังสือชื่อ “การบริหารเพื่อผลงาน” (High Output

อ่านต่อ ...

การบริหารองค์กรยุคใหม่ต้องมีความเข้าใจพฤติกรรมคนรุ่นใหม่ เพื่อที่จะได้ดึงดูดพนักงานที่มีศักยภาพเข้าสู่องค์กร โดยเฉพาะคนที่เป็นคนเก่งและเป็นคน Gen Y ความต้องการก็จะไม่เหมือนคน Gen B ผู้บริหารองค์กรก็ต้องมีความเข้าใจสิ่งปลีกย่อยเหล่านี้ เพื่อที่จะได้วางระบบการทำงานของบริษัทให้ได้มาตรฐานตามที่พฤติกรรมคนรุ่นใหม่อยากให้เป็น แต่ไม่ใช่ว่าบริษัทจะไปเอาใจแต่คนรุ่นใหม่เท่านั้น แต่องค์กรจะต้องปรับเพื่อให้เข้ากับแนวโน้มของโลกที่เปลี่ยนแปลงไป ถ้าองค์กรใดไม่ปรับ ก็จะไม่ได้พนักงานที่เดินเข้ามาสู่องค์กร จะทำอย่างไรที่ต้องหาวิธีดึงดูดคนเข้ามาสู่องค์กรให้ได้ก่อน หลังจากเมื่อพนักงานเข้ามาสู่องค์กรแล้ว ค่อยสร้างแรงจูงใจ เพื่อที่จะให้พนักงานเกิดความรู้สึกรักองค์กรตามมา คนที่เป็นคนเก่ง เมื่อเข้ามาสู่องค์กรแล้ว

อ่านต่อ ...

ส่วนใหญ่นักบริหารงานบุคคล  ดำเนินการสรรหาและคัดเลือกผ่านกระบวนการสัมภาษณ์  ทดสอบ   ว่าจ้าง  รับเข้ามาเป็นพนักงาน ใบสมัครของผู้ถูกสัมภาษณ์ที่คัดเลือก เพื่อนำมาเป็นเปรียบเทียบกัน  ก็ถูกนำไปเก็บไว้  โดยที่ไม่ได้ใส่ใจประวัติดังกล่าวอีกเลย  ซึ่งในยุคที่แรงงานค่อนข้างหายากเช่นนี้  นักบริหารงานบุคคล  ควรเริ่มใส่ใจประวัติดังกล่าวนี้ใหม่  เหมือนกับวัตถุดิบ ในยุคแรกๆ ที่บริษัทนำวัตถุดิบไปผลิตสินค้าแล้ว  เกิดความเสียหาย สินค้าถูกเคลมกลับคืนมายังบริษัท    สินค้าดังกล่าวก็ไม่สามารถนำมาใช้ใหม่ได้  แต่พอมายุคปัจจุบันเทคโนโลยีเจริญขึ้น  ก็ได้คิดค้นวิธีที่จะนำสินค้าที่ชำรุดเสียหาย 

อ่านต่อ ...

จากที่หลายๆองค์กร มักประสบปัญหากับการรับพนักงานใหม่เข้ามาสู่องค์กร สิ่งที่บริษัทต้องเผชิญกับการหาพนักงานเข้ามาร่วมงานยากแล้ว ยังต้องพบปัญหาคนรุ่นใหม่ไม่มีความอดทน ไม่ค่อยสู้งาน เลือกทำงานที่ตนเองชอบเป็นกรณีพิเศษ เมื่อเข้ามาปฏิบัติงานแล้ว ถ้ากระบวนการทำงานไม่เอื้ออำนวยหรือระบบการทำงานไม่ดี ก็ออกไปจากองค์กร โดยไม่มีการบอกกล่าวแต่อย่างใด สิ่งที่ผู้เขียนได้รับคำบ่นจากหน่วยงาน HR อยู่เป็นประจำ ว่าจะทำอย่างไรดีกับคนรุ่นใหม่ ที่มีพฤติกรรมลักษณะนี้ ต้องบอกเลยว่ายากมาก กับการที่เราจะไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของคนกลุ่มนี้ ยกเว้นว่าเราจะปรับองค์กรของเราอย่างไร ที่จะดึงดูดคนกลุ่มนี้ให้เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งขององค์กรของเรา จากที่ผู้เขียนได้เคยร่วมสัมภาษณ์

อ่านต่อ ...

ผู้บริหารองค์กร ที่ให้ความสำคัญในเรื่องนี้ ก็จะมีความตระหนักดี ว่าการที่สรรหาคัดเลือกพนักงานที่มีบุคลิก ลักษณะดี เข้ามาเป็นพนักงานภายในบริษัท จะส่งผลต่อองค์กรอย่างไรบ้าง จากสิ่งที่ บุคลิกภาพ เป็นปัจจัยแรกที่เป็นบ่อเกิดในการตัดสินใจของลูกค้า หรือผู้ที่พบเห็นเป็นอันดับแรก

อ่านต่อ ...

สิ่งสำคัญของกระบวนการสรรหานอกจากจะต้องทราบข้อมูลช่องทางในการสรรหาคนเข้าสู่องค์กรแล้ว  ยังต้องมีความรู้ ความสามารถ ในการหาข้อมูล Demand และ Supply ในแต่ละปีด้วยเช่นกัน…

อ่านต่อ ...